วันเสาร์ที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Diary no.13 Tuesday, 25 October 2560.



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management For Early Childhood
วันอังคารที่ 7 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
เวลา 8.30 - 12.30 น.


Story of subject (เนื้อหาที่สอน)


          อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 4 -5 คน ช่วยกันระดมความคิดทำแผนผัง โดยให้ทำตามหน่วยที่ได้ตกลงกันภายในกลุ่ม เมื่อได้เรื่องที่จะทำแล้วต้องนำเนื้อหามาแยกเป็น 5 หัวข้อ ดังนี้
1)ชนิด
2)ลักษณะ
3)วิธีการดูแลรักษา
4)ประโยชน์
5)ส่วนประกอบ

              กลุ่มของข้าพเจ้าได้เลือกหน่วย กล้วย ซึ่งได้จำแนกข้อมูลออกตามหัวข้อดังนี้



1)ชนิด 
-กล้วยน้ำหว้า
-กล้วยหอม
-กล้วยไข่
-กล้วยเล็บมือนาง

2)ลักษณะ
-ทรงเรียว ยาว
-มีเปลือกสีเหลืองห่อหุ้ม
-เนื้อข้างในสีขาว
-เป็นเครือ

3)วิธีการดูแลรักษา
-หุ้มเกลือหลังจากตัดปลี
-ให้น้ำอย่างสม่ำเสมอ
-ให้ปุ๋ย 1-2 ครั้ง ต่อ 1-3 เดือน
-หลังปลูก 3 เดือน ให้แต่งหน่อ

4)ประโยชน์
-นำก้านกล้วยมาทำของเล่น
-นำมาทำอาหาร
-นำใบตองมาทำกระทง บายศรี
-ช่วยแก้โรคต่างๆได้

5)ส่วนประกอบ
-ต้นกล้วย
-ปลีกล้วย
-กล้วย
-ใบกล้วย


Adoption (การนำไปใช้)


      ความรู้จากการที่ได้ร่วมกันทำแผนผังความคิด เป็นความรู้ที่จะติดตัวเราไปเมื่อเราไปฝึกสอน นำไปใช้ในการเรียนแบบโครงการ 


Assessment (การประเมิน)


ตนเอง ให้ความร่วมมือในการทำงานกลุ่ม เสนอความคิดเห็นของตนเองและฟังความคิดเห็นของเพื่อน

อาจารย์ ให้คำแนะนำในการทำงาน

บรรยากาศ ทุกๆคนต่างช่วยกันระดมความคิด เพื่อให้ผลงานออกมาดี


Vocabulary (คำศัพท์)


กล้วย = Banana
ส่วนประกอบ = Composition
ประโยชน์ = Benefit
ชนิด = Kind
การดูแลรักษา = Attendance


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น