Diary no.15 Tuesday, 21 November 2560.
บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management For Early Childhood
วันอังคารที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560เวลา 8.30 - 12.30 น
Story of subject (เนื้อหาที่สอน)
อาจารย์ตรวจคลิปการทดลองวิทยาศาสตร์ของแต่ละคน โดยอาจารย์ให้ความรู้ว่า การทดลองวิทยาศาสตร์นั้น ต้องใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้
- การตั้งคำถาม
- การตั้งสมมติฐาน
- การทดลอง
- การสรุปผล
- ย้อนดูสมมติฐาน
- รายงานผลที่ได้
จากนั้นเป็นการทำ Cooking โดยผ่านการเรียนรู้แบบ STEM
เตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์(Technolgy)
เตรียมวัตถุดิบและอุปกรณ์(Technolgy)
ขั้นตอนที่ 1 ออกแบบ (Engineering) ให้แต่ละคนออกแบบเกี๊ยวของของตนเอง และให้ภายในกลุ่มลงความเห็นกันว่าจะเลือกแบบของใครเพื่อเป็นแบบของกลุ่ม
ขั้นตอนที่ 2 ตักวัตถุดิบ (Math) ให้แต่ละกลุ่มตักวัตถุดิบตามจำนวนสมาชิกของตนเอง เช่น ตักหมูคนละ 1 ช้อน มี 4 = คน ตัก 4 ช้อน แครอท 1 ช้อน วุ้นเส้น 1 ช้อน ไส้กรอก 1 ช้อน แผ่นเกี๊ยว 10 แผ่น
ขั้นตอนที่ 3 ห่อเกี๊ยวตามที่ออกแบบไว้
ขั้นตอนที่ 4 ครูดำเนินขั้นตอนตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science) โดยการตั้งประเด็นปัญหากับเด็ก ตั้งสมติฐาน เริ่มวิธีการทำ และสรุป
ขั้นตอนที่ 2 ตักวัตถุดิบ (Math) ให้แต่ละกลุ่มตักวัตถุดิบตามจำนวนสมาชิกของตนเอง เช่น ตักหมูคนละ 1 ช้อน มี 4 = คน ตัก 4 ช้อน แครอท 1 ช้อน วุ้นเส้น 1 ช้อน ไส้กรอก 1 ช้อน แผ่นเกี๊ยว 10 แผ่น
ขั้นตอนที่ 3 ห่อเกี๊ยวตามที่ออกแบบไว้
ขั้นตอนที่ 4 ครูดำเนินขั้นตอนตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Science) โดยการตั้งประเด็นปัญหากับเด็ก ตั้งสมติฐาน เริ่มวิธีการทำ และสรุป
Adoption (การนำไปใช้)
สามารถนำการสอนแบบ STEM ไปใช้ได้จริงในการสอนในอนาคต
Assessment (การประเมิน)
- ตนเอง เข้าเรียนตรงต่อเวลา ให้ความร่วมมือกับกิจกรรม ตั้งใจฟังอาจารย์ให้ความรู้
- อาจารย์ ให้คำแนะนำต่างๆมากมาย ที่เป็นประโยชน์แก่ตัวนักศึกษาเอง
- บรรยากาศ เพื่อนตื่นเต้น สนใจกับการเรียนรู้จากการทำ Cooking
Vocabulary (คำศัพท์)
ออกแบบ = Design
ทอด = Fry
เนื้อหมู = Pork
สัดส่วน = Proportion
วุ้นเส้น = Vermicelli
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น