วันอังคารที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560

Diary no.14 Tuesday, 25 October 2560.



บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14
การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management For Early Childhood
วันอังคารที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2560
เวลา 8.30 - 12.30 น.



Story of subject (เนื้อหาที่สอน)


          อาจารย์ได้ตรวจแผนผังความคิดที่แต่ละกลุ่มได้ทำมา โดยอาจารย์จะแนะแนวทางให้ เพื่อความถูกต้อง เหมาะสมกับเนื้อหานั้นๆ โดยกลุ่มกล้วยของพวกเราก็จะได้เพิ่มเติมเนื้อหาในหัวข้อต่างๆมากขึ้น



       
         เนื้อหาที่ได้แก้ไขแล้ว จะมีดังนี้

   ชนิด
- กล้วยน้ำว้า
- กล้วยไข่
- กล้วยหอม
- กล้วยเล็บมือนาง

   ลักษณะ
สี
- เขียว
- เหลือง
- น้ำตาล
รูปทรง
- ทรงรี
- ทรงสั้น
- ทรงยาว
กลิ่น
- หอม
ส่วนประกอบ
- เปลือกห่อหุ้ม
- มีเม็ด
- เนื้อสีขาว

   ประโยชน์
ถนอมอาหาร
- ตาก
- กวน
- ฉาบ
ประกอบอาหาร
     เครื่องดื่ม
- น้ำกล้วยปั่น  
     ของหวาน
- กล้วยทอด
- กล้วยปิ้ง
- เค้กกล้วยหอม
- ไอศกรีม
- กล้วยบวชชี
สร้างรายได้
- ชาวนสวน
- คนขับรถส่งกล้วย
      ค้าขาย
- คนขายผลไม้
- คนขายกล้วยปิ้ง
- คนขายกล้วยทอด
- คนขายไอศกรีม
      รักษาโรค
- กล้วยดิบแก้กระเพราะ
- กล้วยสุกแก้ท้องผูก
- กล้วยห่ามแก้ท้องเสีย
- กล้วยงอมต้านมะเร็ง

   ข้อควรระวัง
- ไม่พูดขณะรับประทาน
- เก็บรักษาในอุณหภูมิที่เหมาะสม
- หากกินกล้วยที่ไม่สุกจะทำให้เกิดลมในท้อง



   นำหน่วยการเรียนรู้มาเชื่อมโยงกับกรอบมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์ 8 สาระ
สาระที่ 1 สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดำรงชีวิต → ให้เห็นกระบวนการดำรงชีวิต เช่น เรื่องกล้วยเป็นเรื่องเกี่ยวกับธรรมชาติรอบตัว
สาระที่ 2 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม → มีความสัมพันธ์กันและบอกได้ว่าเป็นสิ่งมีชีวิตหรือไม่มีชีวิต
สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร → การทำให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลง เช่น การแปรรูปกล้วยหรือนำกล้วยไปประกอบอาหาร
สาระที่ 4 แรงและการเคลื่อนที่ → การจม การลอย
สาระที่ 5 พลังงาน → การใช้พลังงานที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการทำกล้วยตาก
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก → การเปลี่ยนแปลงของโลกที่มีผลกระทบต่อมนุษย์ เช่น การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ พายุทำให้กล้วยเกิดความเสียหาย
สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ → การเกิดกลางวัน กลางคืน
สาระที่ 8 ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี → กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้แก่
1) การตั้งคำถาม
2) การตั้งสมมติฐาน
3) การทดลอง
4) การสรุปผล
5) ย้อนดูสมมติฐานว่าเป็นจริงหรือไม่
6) รายงานผลที่ได้




Adoption (การนำไปใช้)


     รู้จักการนำเอาข้อมูลต่างๆในแผนผังความคิดเรื่อง กล้วย ไปเชื่อมโยงกับกรอบมาตรฐานทางวิทยาศาสตร์ทั้ง 8 สาระ


Assessment (การประเมิน)


- ตนเอง เข้าเรียนตรงต่อเวลา ช่วยเพื่อนคิด หาข้อมูลในการปรับปรุงแก้ไขแผนผังความคิดให้สมบรูณ์

- อาจารย์ แนะแนวเรื่องการทำแผนผังความคิด ให้คำปรึกษาเมื่อนักศึกษาเกิดความสงสัย

- บรรยากาศ ทุกกลุ่มตั้งใจแก้ไขงานของตนเองให้ถูกต้อง สมบรูณ์ 



Vocabulary (คำศัพท์)


หมึก = Squid
ผลกระทบ = Effect
ข้าว = Rice
น้ำ = Water
กล้วย = Banana

   



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น